-
สำนักแผนความปลอดภัย สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร ได้ทำ โครงการฝึกอบรมด้านการตรวจสอบความปลอดภัยทางถนน Road Safety Audit Training Program จังหวัดดสระบุรี เพื่อความรู้ความเข้าใจในเรื่องการตรวจสอบความปลอดภัยทางถนนและความรู้ด้านปลอดภัยทางถนนอื่นๆ แก่วิศวกรและเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องกับงานด้านความปลอดภัยทางถนน ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีและมหาวิทยาลัยขอนแก่น จัดทำฝึกอบรมจำนวน 10 รุ่น โดยเลือกจังหวัดสระบุรี เป็นสถานที่ฝึกอบรม
-
รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการการใช้ยาด้านไวรัสเอชไอวีในผู้ติดเชื้อที่มีความลับบล้มเหลวทางการรักษา จากยาสูตรแรกที่มีเอ็นเอ็นอาร์ทีไอ (โครงการอีฟสตาร์) (The HIV Second-Line Therapy Antiretroviral Study in Patients who failed NNRTI-based regimens (HIV STAR))
มี 2 เรื่อง ในตัวโครงการดังนี้
1. การศึกษาผลของเชื้อเอชไอวีและยาต้านไวรัสต่อระบบประสาทในอาสาสมัครที่รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสตัวเดียว (โลพินาเวียร์/ริโทนาเวียร์) เปรียบเทียบกับยาต้านไวรัสสูตรสามตัว (โลพินาเวียร์/ริโทนาเวียร์ร่วมกับเอ็นอาร์ทีไอ 2 ตัว)--ผลการทดสอบความผิดปกติทางระบบประสาทไม่มีความแตกต่างกันระหว่าง 2 กลุ่มการรักษาแม้ว่ายาต้านไวรัสตัวเดียวมีประสิทธิภาพในการเข้าถึงระบบประสาทส่วนกลางได้ต่ำกว่ายาต้านไวรัส 3 ตัว
2. การศึกษาผลของเชื้อเอชไอวีและยาต้านไวรัสในอวัยวะสืบพันธุ์ในอาสาสมัครที่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสตัวเดียว (โลพินาเวียร์/ริโทนาเวียร์)เปรียบเทียบกับยาต้านไวรัสสูตรสามตัว (โลพินาเวียร์/ริโทนาเวียร์ร่วมกับเอ็นอาร์ทีไอ 2 ตัว)--ผลการทดสอบหลังจากที่อาสาสมัครเปลี่ยนมาใช้ยาโลพินาเวียร์/ริโทนาเวียร์ ทั้งกลุ่มที่รับประทานยาต้านไวรัสตัวเดียวและกลุ่มที่รับประทานยาต้านไวรัส 3 ตัว ปริมาณไวรัสในสารคัดหลั่งจากอวัยวะสืบพันธุ์ได้ลดลงอย่างมีนัยสำคัญทั้ง 2 กลุ่ม และไม่มีความแตกต่างระหว่างกลุ่มการรักษา
-
รายงานสรุปโครงการค่าจ้างศึกษาและพัฒนาตัวแบบหน่วยสืบสวนอุบัติเหตุจากการขนส่งและจราจร (พื้นที่ศึกษา : จังหวัดขอนแก่น) อธิบายถึงข้อมูลทั่วไป ขั้นตอนการศึกษา สิ่งที่ได้รับการพัฒนา และ/หรือ ค้นพบจากการศึกษาในครั้งนี้ รวมถึงปัญหาและข้อเสนอแนะในการดำเนินงานทางหมดของโครงการ
-
รายงานการวิจัยเรื่อง การวิเคราะห์และการศึกษาแสดงออกของโมเลกุลตัวรับบนผิวเซลล์ไมโครเกลียในเชลล์เพาะเลี้ยงและในสัตว์ทดลองเพื่อยับยั้งการติดเชื้อและการตายแบบทำลายตัวเองของเซลล์จากไวรัสไข้สมองอักเสบ Japanese encephalitis โดยสรุปจากผลการทดลอง คณะผู้วิจัยสามารถบ่งชี้และทดสอบการทำหน้าที่เป็นโปรตีนต้อนรับต่อไวรัสไข้สมองอักเสบเจอีของโปรตีน laminin receptor precursor ที่มีขนาด 43 กิโลดาลตันบนผิวเซลล์ไมโครเกลีย
-
คู่มือการปรับปรุงพื้นที่เป้าหมายเพื่อส่งเสริมความปลอดภัยสายทางและทางแยกตามโครงการทางแยกปลอดภัย จุดสำรวจทางแยกปลอดภัยในเมืองโคราชและนอกเมืองโคราช มีภาคผนวกและรูปภาพสีท้ายเล่ม
-
สำนักแผนความปลอดภัย สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร ได้ทำ โครงการฝึกอบรมด้านการตรวจสอบปลอดภัยทางถนน Road Safety Audit Training Program จังหวัดเชียงราย เพื่อความรู้ความเข้าใจในเรื่องการตรวจสอบความปลอดภัยทางถนนและความรู้ด้านปลอดภัยทางถนนอื่นๆ แก่วิศวกรและเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องกับงานด้านความปลอดภัยทางถนน ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีและมหาวิทยาลัยขอนแก่น จัดทำฝึกอบรมจำนวน 10 รุ่น โดยเลือกจังหวัดเชียงราย เป็นสถานที่ฝึกอบรม
-
รายงานการวิจัยเรื่อง การพัฒนากระบวนการผลิตชิ้นส่วนผานไถสำหรับอุตสาหกรรมการเกษตร
เกี่ยวกับ การนำเหล็กที่มีความเหมาะสมคือ 65 Min โดยที่โครงสร้างที่เหมาะสมของผานไถเป็นโครงสร้าง Temper Matertensite ที่ได้จากกระบวนการอบคืนตัวโดยทำการอบที่อุณหภูมิ ประมาณ400-410 องศา จะยังคงความแกร่งและได้ความแข็งอยู่ตามเกณฑ์ ที่สามารถนำไใช้ในการผลิตได้จริง
-
รายงานการวิจัยเรื่อง การพัฒนาเหล็กหล่อแกรไฟต์รูปทรงตัวหนอน สำหรับงานแม่พิมพ์หล่อถาวร
เกี่ยวกับการนำวัสดุชนิดใหม่ (เหล็กหล่อแกรไฟต์รูปทรงตัวหนอน) มาประยุกต์ใช้เป็นแม่พิมพ์หล่อถาวร (Premanet Mould) สำหรับการผลิตล้อรถยนต์ (ล้อโลหะผสมอะลูมิเนียม)
-
โครงการฝึกอบรมด้านการตรวจสอบความปลอดภัยทางถนน Road Safety Audit Training Program จังหวัดเพชรบุรี จัดทำขึ้นเพื่อให้ความรู้ความเข้าใจ เรื่อง การตรวจสอบความปลอดภัยทางถนนและความรู้ด้านปลอดภัยทางถนนอื่นๆแก่วิศวกรและเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องกับงานด้านความปลอดภัยทางถนน
-
โครงการสำรวจ ออกแบบ ปรับปรุงจุด/บริเวณเสี่ยงอันตราย เพื่อยกระดับความปลอดภัย รายงานสรุปสำหรับผู้บริหาร (Executive Summary Report) เป็นโครงการตามแผนงานของกรมทางหลวงชนบท กระทราวคมนาคม โดยมอบให้มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี เป็นผู้ดำเนินการศึกษาในระยะเวลา 6 เดือน จากเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2549 ให้มีการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ของกรมทางหลวงชนบทในด้านการตรวจสอบความปลอดภัยทางถนน 1 รุ่น 50คน มีเนื้อหาหลักในการนำเสนอคือ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ ขอบเขตการศึกษา ขั้นตอนการตรวจสอบความปลอดภัย ข้อสรุปการปรับปรุง การแก้ไขจุดเสี่ยงอันตราย การออกแบบ งบประมาณ แผนการดำเนินการระยะสั้นและยาว
-
รายงานการวิจัยโครงการวิจัยเรื่อง การออกแบบและพัฒนาต้นแบบเฮลิคอปเตอร์แบบแกนร่วมไร้ควัน สำหรับภารกิจตรวจการณ์ = Design and Development of Unmanned Coaxial Helicopter For Surveillance Mission รองศาสตราจารย์ ดร. ณัฏฐกา หอมทรัพย์ และคณะวิจัยฯ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ก.ค. 2554 เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของโครงการเพื่อการมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ในโครงการชื่อ การออกแบบและพัฒนาอากาศยานขึ้นลงแนวดิ่ง สำหรับภารกิจตรวจการณ์ ทำการวิจัยหลัก ณ ห้องปฎิบัติการวิจัยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าประยุกต์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และพื้นที่ภายในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
-
โครงการสำรวจ ออกแบบ ปรับปรุงจุด/บริเวณเสี่ยงอันตราย เพื่อยกระดับความปลอดภัย แบบรายละเอียดและประมาณราคา รหัสสายทาง ช บ.4036 (กม.0+750) ชื่อสายทาง แยกทางหลวงหมายเลข 3144- สวนสัตว์เปิดเขาเขียว อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ปรับปรุงทางเชื่อมที่ กม.0+590 และก่อสร้างวงเวียนที่ กม.0+750
-
โครงการสำรวจ ออกแบบ ปรับปรุงจุด/บริเวณเสี่ยงอันตราย เพื่อยกระดับความปลอดภัย แบบรายละเอียดและประมาณราคา รหัสสายทาง ชบ.4036 (กม.0+000) ชื่อสายทาง แยกทางหลวงหมายเลข 3144- สวนสัตว์เปิดเขาเขียว อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ก่อสร้างวงเวียนที่ กม.0+000
-
โครงการสำรวจ ออกแบบ ปรับปรุงจุด/บริเวณเสี่ยงอันตราย เพื่อยกระดับความปลอดภัย แบบรายละเอียดและประมาณราคา รหัสสายทาง นฐ.4006 ชื่อสายทาง แยกทางหลวงหมายเลข 3310 - อำเภอนครชัยศรี อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ปรับปรุงทางแยกที่ กม. 0+800 มีภาคผนวกท้ายเล่ม
-
โครงการสำรวจ ออกแบบ ปรับปรุงจุด/บริเวณเสี่ยงอันตราย เพื่อยกระดับความปลอดภัย แบบรายละเอียดและประมาณราคา รหัสสายทาง ชม.3029 (กม. 21+600) ชื่อสายทาง ถนนสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ปรับปรุงทางแยกที่ กม. 12+600 มีภาคผนวกท้ายเล่ม
-
โครงการสำรวจ ออกแบบ ปรับปรุงจุด/บริเวณเสี่ยงอันตราย เพื่อยกระดับความปลอดภัย แบบรายละเอียดและประมาณราคา รหัสสายทาง นม.3010 ชื่อสายทาง แยกทางหลวงหมายเลข 226 - บ้านพิทักษากร อำเภอจักราช จังหวัดนครราชสีมา ปรับปรุงทางแยกที่ กม. 12+500 มีภาคผนวกท้ายเล่ม
-
โครงการสำรวจ ออกแบบ ปรับปรุงจุด/บริเวณเสี่ยงอันตราย เพื่อยกระดับความปลอดภัย แบบรายละเอียดและประมาณราคาสายทาง รหัสสายทางนย.2003 ชื่อสายทาง แยกทางหลวงหมายเลข 33 - บ้านกระเหรี่ยง อำเภอบ้านนา จังหวัดนครนายก ปรับปรุงทางแยกที่ กม. 21+300 มีภาคผนวกท้ายเล่ม
-
โครงการสำรวจ ออกแบบ ปรับปรุงจุด/บริเวณเสี่ยงอันตราย เพื่อยกระดับความปลอดภัย แบบรายละเอียดและประมาณราคาสายทาง สบ.1004 ชื่อสายทาง แยกทางหลวงหมายเลข 1 - บ้านหาดสองแคว อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี ปรับปรุงทางแยกที่ กม. 13+000 มีภาคผนวกท้ายเล่ม
-
เป็นเอกสารวิจัยส่วนบุคคล ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ของนาวาอากาศเอก วรพจน์ ขำพิศ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 45 ประจำปีการศึกษา พ.ศ.2545-2546 เนื้อหาสรุปดังนี้ ด้วยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ได้จัดตั้งขึ้นเมื่อปีพ.ศ. 2533 ซึ่งสำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์เป็นหนึ่งในห้าสำนักวิชาของมหาวิทยาลัย มี 14 สาขาวิชา ทั้งในระดับปริญญาตรี โท เอก โดยไม่มีบัณฑิตวิทยาลัย ซึ่งแตกต่างจากระบบการบริหารงานของมหาวิทยาลัยทั่วไป ทั้งนี้การจัดสรรงบประมาณจากรัฐระบบใหม่มุ่งเน้นที่ผลงานที่มีประสิทธิภาพ วัตถุประสงค์ของการวิจัย มุ่งที่จะวิเคราะห์สถานภาพปัจจุบันของการศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ในมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ รวมทั้งพิจารณาการเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องและปัจจัยที่มีผลกระทบ เพื่อหาแนวทางที่จะนำไปสู่การพัฒนาและปรับปรุงให้สอดคล้องกัน โดยจะนำผลที่ได้จากการวิจัยไปพัฒนาการบริหารการศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงวิเคราะห์โดยรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เช่น เอกสาร บทความและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง แล้วบูรณาการความคิดเห็นอย่างเป็นระบบเพื่อนำเสนอในรูปแบบของเอกสารวิจัย
-
เป็นเอกสารโครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สำนักงานปลัดทบวง ทบวงมหาวิทยาลัย มีนาคม 2532 เนื้อหาประกอบ หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ เหตุผลความจำเป็นและหลัการในการขอจัดตั้ง วัตถุประสงค์ของโครงการ วิธีดำเนินการของโครงการ โครงสร้างของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ความสัมพันธ์และความร่วมมือกันระหว่างมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีและหน่วยงานภาครัฐและเอกชน เป้าหมายการดำเนินงาน ทรัพยากรที่ต้องการ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ แผนที่ตั้งของมหาวิทยาลัย
-
โครงการปรับปรุงระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อการใช้ประโยชน์สารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ประจำปี 2546 (ฉบับปรับปรุง)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (พ.ศ. 2545-2549)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ระยะที่ 9 (พ.ศ. 2545-2549) ทบวงมหาวิทยาลัย
-สรุปความต้องการงบประมาณ สำหรับโครงการปรับปรุงระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อการใช้ประโยชน์สารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
- โครงการย่อยที่ 1 โครงการปรับปรุงระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี Gigabit Network
- โครงการย่อยที่ 2 โครงการการพัฒนาห้องสมุดดิจิตอล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
- โครงการย่อยที่ 3 โครงการพัฒนาระบบทะเบียนและประเมินผลการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
-
โครงการปรับปรุงระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อการใช้ประโยชน์สารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ประจำปี 2546
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (พ.ศ. 2545-2549)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ระยะที่ 9 (พ.ศ. 2545-2549) ทบวงมหาวิทยาลัย
โครงการปรับปรุงระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อการใช้ประโยชน์สารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
- โครงการย่อยที่ 1 โครงการปรับปรุงระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี Gigabit Network
- โครงการย่อยที่ 2 โครงการการพัฒนาห้องสมุดดิจิตอล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
- โครงการย่อยที่ 3 โครงการพัฒนาระบบทะเบียนและประเมินผลการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
-
โครงการปรับปรุงระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อการใช้ประโยชน์สารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (พ.ศ. 2545-2549)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ระยะที่ 9 (พ.ศ. 2545-2549)
- สรุปความต้องการงบประมาณ สำหรับโครงการปรับปรุงระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อการใช้ประโยชน์สารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
- โครงการย่อยที่ 1 โครงการปรับปรุงระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี Gigabit Network
- โครงการย่อยที่ 2 โครงการการพัฒนาห้องสมุดดิจิตอล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
- โครงการย่อยที่ 3 โครงการพัฒนาระบบทะเบียนและประเมินผลการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
-
โครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานระบบคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (ระยะที่ 2) ประจำปีงบประมาณ 2542
- ระบบคอมพิวเตอร์มหาวิทยาลัยในปัจจุบัน
- ลักษณะงาน ปริมาณงานและปัญหาอุปสรรค
- ระบบงานปัจจุบันที่ต้องปรับปรุงและระบบงานใหม่
- ภาคผนวกท้ายเล่ม
-
โครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานระบบคอมพิวเตอร์ (ศูนย์คอมพิวเตอร์) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (มกราคม 2542)
- ระบบคอมพิวเตอร์มหาวิทยาลัยในปัจจุบัน
- ลักษณะงาน ปริมาณงานและปัญหาอุปสรรค
- ระบบงานปัจจุบันที่ต้องปรับปรุงและระบบงานใหม่
- ภาคผนวกท้ายเล่ม